วันพุธที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2558

บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน

โมเมนตัม คือการรักษาสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุ เรารู้ดีว่าการที่จะหยุดรถบรรทุกทำได้ยาก กว่าการที่เราจะหยุดจักรยานที่มีความเร็วเท่ากับรถบรรทุกนั้น เราจึงบอกว่ารถบรรทุกมีโมเมนตัมมากกว่ารถจักรยาน และในกรณีที่วัตถุเคลื่อนที่เร็วขึ้นมันก็จะ รักษาสภาพการเคลื่อนที่ได้ดีขึ้นมีโมเมนตัมสูงขึ้นนั่นเอง เราจึงสรุปได้ว่าอ่านต่อ






...........................................................................................................



การดล คือโมเมนตัมของวัตถุเปลี่ยน นั่นหมายถึงความเร็วเปลี่ยนแต่มวลยังคงที่ แรงทำให้ความเร็วเปลี่ยนไปจนมีความเร่งเกิดขึ้น ดังนั้นเมื่อเพิ่มแรงในเวลาช่วงหนึ่งก็สามารถทำให้โมเมนตัมเปลี่ยนแปลงได้ ...อ่านต่อ

...........................................................................................................


การชน หมายถึง การที่วัตถุหนึ่งไปกระทบกับอีกวัตถุหนึ่งในช่วงสั้นๆ หรืออาจจะไม่กระทบกัน   แต่มีแรงมากระทำ เช่น ตีลูกบอล ยิงปืน ระเบิด เป็นต้น

      การชนขณะที่มีแรงภายนอกมากระทำน้อยมากเมื่อเทียบกับขนาดแรงดล โมเมนตัมของระบบจะมีค่าคงที่ เช่น การชนของลูกสนุกเกอร์ ....อ่านต่อ

บทที่ 5 งานและพลังงาน

งาน คือ ผลของแรงที่กระทำบนวัตถุ และทำให้วัตถุเคลื่อนที่ไปตามแนวแรง ซึ่งเป็นปริมาณสเกลาร์ มีหน่วยเป็นนิวตันเมตร (N.m) หน่วยนี้มีชื่อใหม่ว่า จูล (Joule, J)… อ่านต่อ



......................................................................................................

พลังงาน คือ ความสามารถในการทำงาน เมื่อเราเห็นคนคนหนึ่งสามารถทำงานได้จำนวนมาก เราจะกล่าวว่าคนนั้นมีพลังงานมาก หรือน้ำมันแก๊สโซลีนเป็นเชื้อเพลิงซึ่งให้พลังงานออกมาเมื่อเผาไหม้ พลังงานสามารถทำงานได้ จึงทำให้ลูกสูบเคลื่อนที่
วัตถุใดๆ ก็ตามมีพลังงานอยู่ในตัว 2 รูปด้วยกันคือ... อ่านต่อ


......................................................................................................

กำลัง คือ อัตรากที่ทำงานหรืองานที่เกิดขึ้นในหนึ่งหน่วยเวลา
กำหนดให้ W คือ งานที่ทำได้ มีหน่วยเป็นจูล (J)
คือ เวลาที่ใช้ในการทำงาน มีหน่วยเป็นวินาที (s)
คือ กำลัง


จากนิยามของกำลังเขียนเป็สมการได้ว่า… อ่านต่อ

......................................................................................................

กฎการอนุรักษ์พลังงาน   วัตถุที่กำลังเคลื่อนที่โดยมีอัตราเร็ว จะเรียกว่าวัตถุนั้นมี พลังงานจลน์ (kinetic energy : Ek ) พลังงานจลน์ในวัตถุจะมากน้อยเท่าไรขึ้นกับมวล (m )และอัตราเร็ว (v ) ของวัตถุ โดยมีความสัมพันธ์ดังนี้….อ่านต่อ

......................................................................................................

การประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล     กฎการอนุรักษ์พลังงานกลสามารถนำมาใช้อธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ ได้อย่างกว้างขวาง ซึ่งจะช่วยให้เข้าใจเรื่องนั้นๆ ได้ดีขึ้น เช่น การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย อาจเข้าใจได้ ดีขึ้นเมื่อใช้หลักการของพลังงานกลมาวิเคราะห์อ่านต่อ